วันพุธที่ 10 กันยายน พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่ 2
 
วันพฤหัสบดี ที่ 28 เดือน สิหาคม 2557
 
 
 
 

วันนี้ติดสอบสัมภาษณ์ กยศ เรยไม่ได้เข้าเรียน ดิฉันจึงไปศึกษาเนื้อหาที่เรียนจากเพื่อนและสรุปความรู้ออกมาดังนี้
 
      ความกล้าแสดงออก ทำให้เด็กเกิดความคิดสร้างสรรค์เด็กปฐมวัย
1.พฤติกรรม = พัฒนาการ
 2.การเรียนรู้ หรือ การเล่น
 3.การอบรมเลี้ยงดู
 
สติปัญญา แบ่งได้ดังนี้
 - ความคิด เช่น  ความคิดเชิงเหตุผล เช่น คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์  และ ความคิดเชิงสร้างสรรค์
  - การใช้ภาษา
 
พัฒนาการ คือ การเปลี่ยนแปลงโครงสร้าง ทั้ง 4 ด้าน คือ ร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สติปัญญา ภาษา
 พัฒนาการทางด้านสติปัญญา
การใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 การรับรู้ การซึมซับ
 การเรียนรู้ = การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการเพื่อการมีชีวิตรอดในสังคม
 รับรู้ = ยังไม่มีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
 *** วิธีการที่ทำให้เกิดการเรียนรู้ คือ การเล่น
  การเล่น คือ การที่เด็กลงมือกระทำด้วยประสาทสัมผัสทั้ง 5 อย่างเป็นทางการและไม่เป็นทางการ ที่สำคัญคือเด็กได้มีโอกาสเลือกเล่นด้วยตนเอง การจัดการเรียนการสอน การออกแบบกิจกรรมให้สอดคล้องกับการเรียนรู้
ความหมายของวิทยาศาสตร์
     วิทยาศาสตร์ คือ ความพยายามของมนุษย์ที่จะเรียนรู้และทำความเข้าใจกับสิ่งรอบตัว ติดตัวมนุษย์มาตั้งแต่เกิด ซึ่งสะท้อนให้เห็นจากธรรมชาติของเด็กที่มีความอยากรู้ อยากเห็น ช่างสังเกต และคอยซักถามเกี่ยวกับสิ่งต่างๆ จะช่วยเชื่อมโยงเซลล์สมองของเด็ก เพราะส่งเสริมให้เด็กได้คิดเป็นการเตรียมเด็กให้สามารถเรียนรู้ได้มากขึ้นในวัยที่สูงขึ้น
สรุป
วิทยาศาสตร์คือ สิ่งที่อยู่รอบๆตัว ถ้าผู้ใหญ่ไม่เข้าใจธรรมชาติเด็ก จะเกิดการปิดกั้นการเรียนรู้ของเด็ก
การนำไปประยุกต์ใช้
-                  จัดกิจกรรมที่สอดคล้องกับการเรียนรู้ของเด็กเพื่อส่งเสริมพัฒนาการของเด็กให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
-                  การจัดประสบการณ์ที่สอดคล้องกับพัฒนาการของเด็ก เพราะเด็กจะได้มีพัฒนาการที่เหมาะสมตามวัย
-                  ออกแบบกิจกรรมที่ส่งเสริมพัฒนาการของเด็กในเรื่องวิทยาศาสตร์รอบๆตัวของเด็ก


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น